ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดประทุมทอง (ตำบลทุ่งมน จังหวัดสุรินทร์)"

จาก wiki.surinsanghasociety
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
(สร้างหน้าด้วย "'''วัดประทุมทอง''' เป็นวัดราษฎร์ ประเภท สำนักสงฆ์ สังกัด...")
 
แถว 4: แถว 4:
  
 
==ประวัติวัด (โดยสังเขป)==
 
==ประวัติวัด (โดยสังเขป)==
'''วัดประทุมทอง'''  ตั้งวัดเมื่อวันที่ ๕ เดือนพฤษภาคม  พ.ศ. ๒๔๐๒  พื้นที่วัดประทุมทองนั้น สมัยแต่ก่อนนั้น เป็นทุ่งนาและท้องไร่ โดยที่ดินส่วนหนึ่งนั้น เป็นที่ดินของหลวงปู่คง  ซึ่งท่านได้ออกบวชตั้งแต่อายุราววัยกลางคน และได้สละที่ดินของท่านในการสร้างวัดไว้ในบวรพระพุทธศาสนา ซึ่งหลวงปู่คงนั้น ท่านเป็นพระที่ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดในพระธรรมวินัย ทำให้ท่านบรรลุถึงภูมิธรรมขั้นสูง ทำให้มีพระภิกษุจากที่ต่างๆ และญาติโยมมาขออยู่ศึกษาปฏิบัติพระกรรมฐานด้วยเป็นจำนวนมาก วัดประทุมทองในสมัยของหลวงปู่คงนั้น เป็นวัดที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในเรื่องของการที่เป็นวัดที่สอนการเจริญพระกรรมฐาน และสอนในเรียกพระคาถาต่างๆ ทั้งที่เป็นภาษาบาลี และภาษาเขมร ซึ่งผู้คนในพื้นที่นิยมเรียนกันมากเพราะเป็นคนไทยเชื้อสายเขมร และท่านก็ได้นำพาพระและญาติโยม สร้างเสนาสนะทั้งหลายขึ้นในวัด เพื่อใช้ประโยชน์ในงานพระศาสนา และต่อมาก็ได้มีญาติธรรมผู้มีจิตศรัทธาในองค์หลวงปู่ ได้ร่วมถวายที่ดินเพิ่ม เพื่อขยายพื้นที่วัดให้กว้างใหญ่ขึ้น จนมีพื้นที่ดังในปัจจุบัน และหลังจากหลวงปู่คงมรณะภาพแล้ว ก็ได้มีหลวงปู่ดินมาเป็นตัวแทนของท่าน ในการสอนพระกรรมฐานและพระคาถาต่างๆ และเมื่อหลวงปู่คงมรณภาพแล้ว ก็มีหลวงปู่สุรินทร์ ได้มาทำหน้าที่แทนต่อไป โดยทั้งสามท่านนั้น คือหลวงปู่คง หลวงปู่ดิน และหลวงปู่สุรินทร์นั้น ทั้งพระและญาติโยมจะเคารพศรัทธาท่านมาก และท่านเป็นคณาจารย์ใหญ่ ในบริเวณ 5-6 ตำบลนั้น และมีลูกศิษย์ที่เก่งๆ มากมายหลายองค์ ซึ่งต่อมาก็ได้เป็นพระมหาเถระที่ผู้คนเคารพนับถือเป็นอันมากและเป็นวงกว้างเพิ่มขึ้น เช่น หลวงปู่ริม รัตนมุนี  หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ หลวงปู่ผาด หลวงปู่ฤทธิ์ เป็นต้น
+
'''วัดประทุมทอง'''  ตั้งวัดเมื่อวันที่ ๕ เดือนพฤษภาคม  พ.ศ. ๒๔๐๒  พื้นที่วัดประทุมทองนั้น สมัยแต่ก่อนนั้น เป็นทุ่งนาและท้องไร่ โดยที่ดินส่วนหนึ่งนั้น เป็นที่ดินของหลวงปู่คง  ซึ่งท่านได้ออกบวชตั้งแต่อายุราววัยกลางคน และได้สละที่ดินของท่านในการสร้างวัดไว้ในบวรพระพุทธศาสนา ซึ่งหลวงปู่คงนั้น ท่านเป็นพระที่ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดในพระธรรมวินัย ทำให้ท่านบรรลุถึงภูมิธรรมขั้นสูง ทำให้มีพระภิกษุจากที่ต่างๆ และญาติโยมมาขออยู่ศึกษาปฏิบัติพระกรรมฐานด้วยเป็นจำนวนมาก  
 
+
<br>วัดประทุมทอง  ในสมัยของหลวงปู่คงนั้น เป็นวัดที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในเรื่องของการที่เป็นวัดที่สอนการเจริญพระกรรมฐาน และสอนในเรื่องของพระคาถาต่างๆ ทั้งที่เป็นภาษาบาลี และภาษาเขมร ซึ่งผู้คนในพื้นที่นิยมเรียนกันมากเพราะเป็นคนไทยเชื้อสายเขมร และท่านก็ได้นำพาพระและญาติโยม สร้างเสนาสนะทั้งหลายขึ้นในวัด เพื่อใช้ประโยชน์ในงานพระศาสนา และต่อมาก็ได้มีญาติธรรมผู้มีจิตศรัทธาในองค์หลวงปู่ ได้ร่วมถวายที่ดินเพิ่ม เพื่อขยายพื้นที่วัดให้กว้างใหญ่ขึ้น จนมีพื้นที่ดังในปัจจุบัน และหลังจากหลวงปู่คงมรณภาพแล้ว ก็ได้มีหลวงปู่ดินมาเป็นตัวแทนของท่าน ในการสอนพระกรรมฐานและพระคาถาต่างๆ และเมื่อหลวงปู่คงมรณภาพแล้ว ก็มีหลวงปู่สุรินทร์ ได้มาทำหน้าที่แทนต่อไป โดยทั้งสามท่านนั้น คือหลวงปู่คง หลวงปู่ดิน และหลวงปู่สุรินทร์นั้น ทั้งพระและญาติโยมจะเคารพศรัทธาท่านมาก และท่านเป็นคณาจารย์ใหญ่ ในบริเวณ 5-6 ตำบลนั้น และมีลูกศิษย์ที่เก่งๆ มากมายหลายองค์ ซึ่งต่อมาก็ได้เป็นพระมหาเถระที่ผู้คนเคารพนับถือเป็นอันมากและเป็นวงกว้างเพิ่มขึ้น เช่น หลวงปู่ริม รัตนมุนี  หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ หลวงปู่ผาด หลวงปู่ฤทธิ์ เป็นต้น
 
==กรรมสิทธิ์ที่ดิน==
 
==กรรมสิทธิ์ที่ดิน==
 
       จำนวน ๒ แปลง ได้แก่
 
       จำนวน ๒ แปลง ได้แก่
แถว 12: แถว 12:
  
 
=อาณาเขตวัด=  
 
=อาณาเขตวัด=  
*             ทิศเหนือ         จด....ทุ่งนาของชาวบ้าน
+
*             ทิศเหนือ         จด....ทุ่งนาของชาวบ้าน
 
*       ทิศใต้ จด....ถนนทางหลวงชนบท
 
*       ทิศใต้ จด....ถนนทางหลวงชนบท
 
*       ทิศตะวันออก         จดทุ่งนาของชาวบ้าน
 
*       ทิศตะวันออก         จดทุ่งนาของชาวบ้าน
แถว 36: แถว 36:
  
 
==การบริหารและการปกครอง==
 
==การบริหารและการปกครอง==
- มีเจ้าอาวาสมาแล้ว .....๗...รูป ลำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้
+
    มีเจ้าอาวาสมาแล้ว .......รูป ลำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้
*ลำดับที่ 1 ...........หลวงปู่คง....................... ตั้งแต่ พ.ศ....๒๔๐๒............... ถึง พ.. ......๒๔๔๒.....
+
*ลำดับที่ 1 ...........หลวงปู่คง......................................................  ตั้งแต่ พ.ศ....๒๔๐๒....... ถึง พ.. ......๒๔๕๘ (มรณภาพ).............
*ลำดับที่ 2 ...........หลวงปู่ดิน......................... ตั้งแต่ พ.. ....๒๔๔๒............. ถึง พ.ศ. .......๒๔๗๔.....
+
 
*ลำดับที่ 3 ...........หลวงปู่สุรินทร์.............................. ตั้งแต่ พ.ศ. .....๒๔๗๔............... ถึง พ.. .....๒๕๐๖...
+
*ลำดับที่ 2 ...........หลวงปู่ดิน.......................................................  ตั้งแต่ พ.ศ. ....๒๔๕๘...... ถึง พ.ศ. .....๒๕๐๕ (มรณภาพ)..............
*ลำดับที่ 4 ............พระประคอง  จามิกรณ์..................ตั้งแต่ พ.ศ. .....๒๕๐๖............... ถึง พ.. ......๒๕๒๖...
+
 
*ลำดับที่ 5 ..........พระวิกรม   บุติมาลย์..................ตั้งแต่ พ.ศ.....๒๕๒๖...............ถึง พ.......๒๕๔๐...
+
*ลำดับที่ 3 ...........หลวงปู่สุรินทร์(สริน)  อภิญาโณ.......................   ตั้งแต่ พ.ศ. .....๒๕๐๕..... ถึง พ.. .....๒๕๒๖ (มรณภาพ).............
*ลำดับที่ 6...........พระครูสุวัชชัย  สุเมโธ........ตั้งแต่ พ.ศ......๒๕๔๐............ถึง พ.ศ....๒๕๖๐...........
+
 
*ปัจจุบัน 7.........พระศักดิ์สิทธิ์  สิทธิคุโณ..........ตั้งแต่ พ.ศ. ....๒๕๖๒............ ถึง ปัจจุบัน
+
*ลำดับที่ 4 ............พระประคอง  รวิวณฺโณ (จามิกรณ์)...................     ตั้งแต่ พ.ศ.......๒๕๒๗.... ถึง พ.. .....๒๕๓๒ (ลาสิกขา).................
 +
 
 +
*ลำดับที่ 5 ..........พระวิกรม กนฺตวีโร (บุติมาลย์).........................ตั้งแต่ พ.ศ.....๒๕๓๒.....ถึง พ.ศ.....๒๕๓๕ (ลาสิกขา)....................
 +
 
 +
*ลำดับที่ 6..........พระสุนทร  สนฺติกโร (คงชูศรี)...........................ตั้งแต่ พ.ศ.....๒๕๓๕.....ถึง พ.ศ....๒๕๔๓ (ลาสิกขา)....................
 +
 
 +
*  ลำดับที่ 7........พระครูสุเมธปทุมาภรณ์ (สุวัชชัย สุเมโธ/ชำนิจ)...              ตั้งแต่ พ.ศ......๒๕๔๓....ถึง พ.ศ....๒๕๖๑ (ลาออก)...............
 +
 
 +
*ปัจจุบัน 8.........พระศักดิ์สิทธิ์  สิทฺธิคุโณ (มีทรัพย์ดี)...................ตั้งแต่ พ.ศ. ....๒๕๖๒............ ถึง พ.ศ...ปัจจุบัน......................
  
 
==ข้อมูลเจ้าอาวาส==
 
==ข้อมูลเจ้าอาวาส==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:38, 22 พฤษภาคม 2563

วัดประทุมทอง เป็นวัดราษฎร์ ประเภท สำนักสงฆ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เจ้าคณะใหญ่|เขตปกครองคณะสงฆ์หนตะวันออก เจ้าคณะภาค|ภาค ๑๑ รหัสวัด ๓๒๐๕-๐๔๒๐๗๒-๒ ตั้งอยู่ที่บ้าน.พลับ เลขที่ ๒๗ หมู่ที่ ๖ ตำบลทุ่งมน อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ โทรศัพท์๐๙๘๗๙๕๙๕๕๒ พิกัดของวัด ละติจูด..... 14.6835564,103.2864667 ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ ๒๓ ไร่ ๕ งาน ๑๘ ตารางวา

ประวัติวัด (โดยสังเขป)

วัดประทุมทอง ตั้งวัดเมื่อวันที่ ๕ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๐๒ พื้นที่วัดประทุมทองนั้น สมัยแต่ก่อนนั้น เป็นทุ่งนาและท้องไร่ โดยที่ดินส่วนหนึ่งนั้น เป็นที่ดินของหลวงปู่คง ซึ่งท่านได้ออกบวชตั้งแต่อายุราววัยกลางคน และได้สละที่ดินของท่านในการสร้างวัดไว้ในบวรพระพุทธศาสนา ซึ่งหลวงปู่คงนั้น ท่านเป็นพระที่ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดในพระธรรมวินัย ทำให้ท่านบรรลุถึงภูมิธรรมขั้นสูง ทำให้มีพระภิกษุจากที่ต่างๆ และญาติโยมมาขออยู่ศึกษาปฏิบัติพระกรรมฐานด้วยเป็นจำนวนมาก
วัดประทุมทอง ในสมัยของหลวงปู่คงนั้น เป็นวัดที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในเรื่องของการที่เป็นวัดที่สอนการเจริญพระกรรมฐาน และสอนในเรื่องของพระคาถาต่างๆ ทั้งที่เป็นภาษาบาลี และภาษาเขมร ซึ่งผู้คนในพื้นที่นิยมเรียนกันมากเพราะเป็นคนไทยเชื้อสายเขมร และท่านก็ได้นำพาพระและญาติโยม สร้างเสนาสนะทั้งหลายขึ้นในวัด เพื่อใช้ประโยชน์ในงานพระศาสนา และต่อมาก็ได้มีญาติธรรมผู้มีจิตศรัทธาในองค์หลวงปู่ ได้ร่วมถวายที่ดินเพิ่ม เพื่อขยายพื้นที่วัดให้กว้างใหญ่ขึ้น จนมีพื้นที่ดังในปัจจุบัน และหลังจากหลวงปู่คงมรณภาพแล้ว ก็ได้มีหลวงปู่ดินมาเป็นตัวแทนของท่าน ในการสอนพระกรรมฐานและพระคาถาต่างๆ และเมื่อหลวงปู่คงมรณภาพแล้ว ก็มีหลวงปู่สุรินทร์ ได้มาทำหน้าที่แทนต่อไป โดยทั้งสามท่านนั้น คือหลวงปู่คง หลวงปู่ดิน และหลวงปู่สุรินทร์นั้น ทั้งพระและญาติโยมจะเคารพศรัทธาท่านมาก และท่านเป็นคณาจารย์ใหญ่ ในบริเวณ 5-6 ตำบลนั้น และมีลูกศิษย์ที่เก่งๆ มากมายหลายองค์ ซึ่งต่อมาก็ได้เป็นพระมหาเถระที่ผู้คนเคารพนับถือเป็นอันมากและเป็นวงกว้างเพิ่มขึ้น เช่น หลวงปู่ริม รัตนมุนี หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ หลวงปู่ผาด หลวงปู่ฤทธิ์ เป็นต้น

กรรมสิทธิ์ที่ดิน

     จำนวน ๒ แปลง ได้แก่
  • ลำดับที่ 1. โฉนดที่ดิน เลขที่ ๕๑๙๘๙
  • ลำดับที่ 2. โฉนดที่ดิน เลขที่ ๕๑๙๙๐

อาณาเขตวัด

  • ทิศเหนือ จด....ทุ่งนาของชาวบ้าน
  • ทิศใต้ จด....ถนนทางหลวงชนบท
  • ทิศตะวันออก จดทุ่งนาของชาวบ้าน
  • ทิศตะวันตก จด....ทางสาธารณะประโยชน์

อาคารเสนาสนะ

  ประกอบด้วย
  • อุโบสถ กว้าง ....๑๑............... เมตร ยาว......๑๖............................ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.....๒๕๓๐................
  • ศาลาการเปรียญ กว้าง........๒๔........... เมตร ยาว......๓๐.................เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.......๒๕๔๓.................
  • หอสวดมนต์ กว้าง......๑๒............ เมตร ยาว.......๒๔.................เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ......๒๕๕๐.........................
  • กุฏิสงฆ์ กว้าง........๑๔............ เมตร ยาว.........๒๐.....................เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ........๒๕๕๑.......................
  • วิหาร กว้าง.......๕............ เมตร ยาว.......๑๐...........................เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.....๒๕๔๙.......................
  • ศาลาอเนกประสงฆ์ กว้าง........๑๒........ เมตร ยาว.......๒๐................เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ......๒๕๕๓......................
  • ศาลาบำเพ็ญกุศล กว้าง........๖........... เมตร ยาว........๑๒...............เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ..........๒๕๕๘..................

นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ดังนี้

  • ฌาปนสถาน จำนวน.....๑...... หลัง หอระฆัง จำนวน....๑....... หลัง หอกลาง จำนวน.................. หลัง
  • โรงครัว จำนวน.......๑...... หลัง เรือนเก็บพัสดุ จำนวน.....๑........ หลัง เรือนรับรอง จำนวน.......๑......... หลัง

ปูชนียวัตถุ

  • พระประธานประจำอุโบสถ ปาง.....มารวิชัย.. ...ขนาดหน้าตัก กว้าง........๖๐.........นิ้ว/เมตร สูง..........๑๒๐........นิ้ว/เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ........๒๕๓๐
  • พระประธานประจำศาลาการเปรียญ ปาง......มารวิชัย....... ขนาดหน้าตัก กว้าง...........๖๐......นิ้ว/เมตร สูง..........๑๒๐........นิ้ว/เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.......๒๕๔๓
  • ปูชนียวัตถุอื่น ๆ ..........พระพุทธรูปองค์ใหญ่ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๖ เมตร สูง ๑๒ เมตร ประดิษฐานอยู่ในบริเวณสวนป่าของวัด

การบริหารและการปกครอง

มีเจ้าอาวาสมาแล้ว ....๘...รูป ลำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังนี้

  • ลำดับที่ 1 ...........หลวงปู่คง...................................................... ตั้งแต่ พ.ศ....๒๔๐๒....... ถึง พ.ศ. ......๒๔๕๘ (มรณภาพ).............
  • ลำดับที่ 2 ...........หลวงปู่ดิน....................................................... ตั้งแต่ พ.ศ. ....๒๔๕๘...... ถึง พ.ศ. .....๒๕๐๕ (มรณภาพ)..............
  • ลำดับที่ 3 ...........หลวงปู่สุรินทร์(สริน) อภิญาโณ....................... ตั้งแต่ พ.ศ. .....๒๕๐๕..... ถึง พ.ศ. .....๒๕๒๖ (มรณภาพ).............
  • ลำดับที่ 4 ............พระประคอง รวิวณฺโณ (จามิกรณ์)................... ตั้งแต่ พ.ศ.......๒๕๒๗.... ถึง พ.ศ. .....๒๕๓๒ (ลาสิกขา).................
  • ลำดับที่ 5 ..........พระวิกรม กนฺตวีโร (บุติมาลย์).........................ตั้งแต่ พ.ศ.....๒๕๓๒.....ถึง พ.ศ.....๒๕๓๕ (ลาสิกขา)....................
  • ลำดับที่ 6..........พระสุนทร สนฺติกโร (คงชูศรี)...........................ตั้งแต่ พ.ศ.....๒๕๓๕.....ถึง พ.ศ....๒๕๔๓ (ลาสิกขา)....................
  • ลำดับที่ 7........พระครูสุเมธปทุมาภรณ์ (สุวัชชัย สุเมโธ/ชำนิจ)... ตั้งแต่ พ.ศ......๒๕๔๓....ถึง พ.ศ....๒๕๖๑ (ลาออก)...............
  • ปัจจุบัน 8.........พระศักดิ์สิทธิ์ สิทฺธิคุโณ (มีทรัพย์ดี)...................ตั้งแต่ พ.ศ. ....๒๕๖๒............ ถึง พ.ศ...ปัจจุบัน......................

ข้อมูลเจ้าอาวาส

นาม/ราชทินนาม พระศักดิ์สิทธิ์ ฉายา สิทฺธิคุโณ อายุ…๓๗….พรรษา………๘……….. ชื่อเดิม…ศักดิ์สิทธิ์.นามสกุล…มีทรัพย์ดี…เกิดวันที่…๕ .เดือน…กุมภาพันธ์ .พ.ศ. ๒๕๒๖ เชื้อชาติ…ไทย สัญชาติ.ไทย. อาชีพเดิม.......เกษตรกรรม.......................... ความสามารถพิเศษ.......คอมพิวเตอร์.......................... เบอร์โทรศัพท์…๐๙๘๗๙๕๙๕๕๒…

  • อุปสมบท วันที่.๒๙..เดือน...กรกฎาคม......พ.ศ..๒๕๕๕.......
  • หนังสือสุทธิเลขที่..๐๙๖๑๖๙๖...........ออกให้ ณ วันที่..๘..เดือน...พฤศจิกายน..................พ.ศ..๒๕๕๕...........
  • ชื่อวัดที่อุปสมบท...วัดอุดรประชาราษฎร์......แขวง/ตำบล...แกใหญ่......เขต/อำเภอ....เมืองสุรินทร์........จังหวัด....สุรินทร์.............
  • วุฒิการศึกษา(สูงสุด)..มัธยมศึกษาปี ๓.....จากสถาบันการศึกษา...โรงเรียนทุ่งมนวิทยาคาร...............................

วิทยฐานะ(สูงสุด)

  • สอบได้นักธรรม...........เอก...........เมื่อ พ.ศ.....๒๕๖๑.....

สำนัก/วัดสะเดารัตนาราม................จังหวัด.........สุรินทร์...