ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บทความ ป.เอก"

จาก wiki.surinsanghasociety
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 32: แถว 32:
 
การกำหนดคำนี้มีลักษณะเรียกย้อนหลัง เรียกคนที่มีอยู่ในอดีต  เปรียบเทียบว่าล้าหลัง  ลี้ลับ  <br>
 
การกำหนดคำนี้มีลักษณะเรียกย้อนหลัง เรียกคนที่มีอยู่ในอดีต  เปรียบเทียบว่าล้าหลัง  ลี้ลับ  <br>
 
คนไทยปัจจุบันกำหนดให้ขอม คือคนยุคเมืองนคร มีเมืองนครเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม มีการก่อสร้างปราสาทด้วยหิน<br>
 
คนไทยปัจจุบันกำหนดให้ขอม คือคนยุคเมืองนคร มีเมืองนครเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม มีการก่อสร้างปราสาทด้วยหิน<br>
 +
คนขแมร์ ไม่ได้เรียกตนเองว่าเป็นขอม <br>
 +
นักวิชาการปัจจุบันเริ่มพากันยอมรับว่า "ขอม" คือ คนไทย ลาว เขมร  กวย ในอดีตนั่นเอง  <br>
 +
ขอม เป็นคนหรือศิลปะวัฒนธรรมยุคหลังทวารวดี และสิ้นสุดยุคขอมเมื่อนครวัดล่อมสลายลง มีปราสาทหินเป็นอนุสรณ์แก่โลก  ขอมจึงไม่ใช่เชื้อชาติ ไม่ใช่ประเทศ  ไม่ใช่รัฐ  เป็นที่เข้าใจกันได้ว่า เป็นช่วงเวลาแห่งยุคสมัยที่มีศิลปะวัฒนธรรมโดดเด่นมากที่สุดประเภทหนึ่งเท่านั้น<br>
 
18 กันยายน 2566
 
18 กันยายน 2566
  

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:13, 18 กันยายน 2566

แล้วกลั่นความคิดให้ชัดแจ้ง เมื่อทรัพยากรบนโลกนี้น้อยลงอย่างใจหาย เพราะโลกกำลังประสบกับภาวะโลกรวน จะดำเนินการอย่างไรให้คุ้มค่าที่สุด ในการใช้ทรัพยากรนั้น ๆ (ความคิดแนวกตัญญู เป็นเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ)"

  • 22 กันยายน 2565 "

การสวดมนต์ ไหว้พระ นั่งสมาธิ เป็นฐานที่มั่นสุดท้ายสำหรับงานพัฒนาชุมชน( วัด หมู่บ้าน โรงเรียน อบต.)"

  • 18 กันยายน 2566

อักษรเกิดขึ้นจากการผลักดันของศาสนา การเมือง วัฒนธรรม
อักษรไทย นับย้อนไปจากรากเง่า คือ
ไทย ได้แบบมาจากอักษรขอม
เก่ากว่าอักษรขอมคืออักษรทวารวดี -อักษรปลวะ และอักษรทมิฬ ตามลำดับ
คนไท คนสยาม คนลานช้างและคนเขมร(คนในพื้นที่ไทย ลาว เขมร ปัจจุบัน)ใช้ตัวอักษรเดียวกัน มีวิธีการจารึกอักษร คือ การจารลงใบลานเหมือนกัน
ด้วยคนสยาม -ไท มีการพัฒนาการด้านตัวอักษรเร็วกว่า มีการเขียนด้วยหมึก เขียนลงสมุด การเขียนบันทึกบ่อยกว่า ตัวอักษรจึงมีการพัฒนาการที่มีความกลมมีความลื่นไหลเร็วกว่า
และในที่สุดตัวอักษรของไทยลาวกัมพูชาจึงมีความแตกต่างกันเช่นปัจจุบัน
ส่วนภาษา สำเนียงภาษา และคำภาษามีการแตกต่างกันไป พัฒนาการ เปลี่ยนตามพื้นที่ภูมิประเทศ
ความเป็นรัฐอาณาจักร เป็นบล็อก เป็นกรอบ สร้างความเป็นการเฉพาะต่อภาษาอีกทีหนึ่ง ในที่สุดก็เกิดความแตกต่างทางตัวอักษร และภาษาคำพูดเช่นนี้แล
18 กันยายน 2566 [8]

ประวัติศาสตร์ไทย ใช้คำว่า "ขอม" มาจากการบันทึกข้อมูลของนักบันทึกชาวฝรั่งเศส
ขณะนั้นคนสยามเรียกกลุ่มคนที่มีความเป็นคนดั้งเดิมกว่าตนเป็น "ขอม" เช่น ตัวหนังสือที่เก่ากว่า เป็นตัวหนังสือขอม คนที่ยึดถือค่านิยมคร่ำขรึกว่าว่าเป็นวัฒนธรรมขอม สิ่งใดที่เก่าแก่ ว่า ขอม หรือเรียกคนที่สีผิวคล้ำกว่าตน มีพัฒนาการช้ากว่า เป็นคนดงคนป่ากว่า เป็นขอม
รากศัพท์คำว่า "ขอม" เป็นเรียกคนกลุ่มอื่น จะมีลักษณะค่อนไปทางการเหยียด กด ข่ม
การกำหนดคำนี้มีลักษณะเรียกย้อนหลัง เรียกคนที่มีอยู่ในอดีต เปรียบเทียบว่าล้าหลัง ลี้ลับ
คนไทยปัจจุบันกำหนดให้ขอม คือคนยุคเมืองนคร มีเมืองนครเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรม มีการก่อสร้างปราสาทด้วยหิน
คนขแมร์ ไม่ได้เรียกตนเองว่าเป็นขอม
นักวิชาการปัจจุบันเริ่มพากันยอมรับว่า "ขอม" คือ คนไทย ลาว เขมร กวย ในอดีตนั่นเอง
ขอม เป็นคนหรือศิลปะวัฒนธรรมยุคหลังทวารวดี และสิ้นสุดยุคขอมเมื่อนครวัดล่อมสลายลง มีปราสาทหินเป็นอนุสรณ์แก่โลก ขอมจึงไม่ใช่เชื้อชาติ ไม่ใช่ประเทศ ไม่ใช่รัฐ เป็นที่เข้าใจกันได้ว่า เป็นช่วงเวลาแห่งยุคสมัยที่มีศิลปะวัฒนธรรมโดดเด่นมากที่สุดประเภทหนึ่งเท่านั้น
18 กันยายน 2566