วัดสุวรรณหงษ์

จาก wiki.surinsanghasociety
รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:24, 29 สิงหาคม 2565 โดย Weera2533 (คุย | มีส่วนร่วม) (→‎กรรมสิทธิ์ที่ดิน)
(ต่าง) ←รุ่นแก้ไขก่อนหน้า | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นแก้ไขถัดไป→ (ต่าง)
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

วัดสุวรรณหงษ์ รหัสวัด ๐๔๓๒๐๕๐๕๐๐๖ บ้านสะพานหัน หมู่ ๗ ตำบลทุ่งมน อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เป็นวัดราษฎร์ ประเภท สำนักสงฆ์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เจ้าคณะใหญ่|เขตปกครองคณะสงฆ์หนตะวันออก เจ้าคณะภาค|ภาค ๑๑

ที่ตั้งวัด

รหัสวัด 63132050001 ตั้งอยู่ที่บ้านสะพานหัน เลขที่ ๒๘ หมู่ที่ ๗ ตำบลทุ่งมน อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ เลขรหัสประจำบ้าน พิกัดของวัด ละติจูด..... 14.664051,103.2578058 ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนื้อที่ ไร่ งาน ตารางวา

ประวัติวัด (โดยสังเขป)

วัดสุวรรณหงษ์ ตั้งวัดเมื่อวันที่ ๒๙ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกาศตั้งวัดสุวรรณหงษ์.jpg
ประกาศตั้งวัดสุวรรณหงษ์ ราชกิจจานุเบกษา.jpg

วัดสุวรรณหงษ์ ตั้งวัดเมื่อวันที่.๒๙..เดือน.พฤษภาคม ..พ.ศ. ๒๕๖๓
วัดสุวรรณหงษ์ตั้งอยู่ทิศใต้เฉียงตะวันตกของตำบลทุ่งมน หมู่บ้านติดขอบฝังลำชี แหล่งน้ำที่มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งเป็นเขตกั้นระหว่างจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นชุมชนโบราณอายุยาวนานแห่งหนึ่งเมื่อทางราชการได้มีนโยบายจัดตั้งหมู่บ้าน ตำบล การปกครองส่วนภูมิภาค บ้านสะพานหันเป็นหมู่บ้านหนึ่งในระบบราชการ เมื่อทางราชการมีนโยบายการศึกษา บ้านสะพานหันได้จัดตั้งโรงเรียนประชาบาลขึ้นเป็นโรงเรียนเล็กๆ คู่กับหมู่บ้านเดี่ยว ชื่อโรงเรียนบ้านสะพานหัน หมู่บ้านมีพื้นที่สาธารณะป่าช้าอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน ในช่วงสมัยที่หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญหรือพระครูประสาทพรหมคุณมีบทบาทในพื้นที่ตำบลทุ่งมนทั้งการปกครองและศูนย์รวมจิตใจ ชาวบ้านสะพานหันได้ปรึกษาหลวงปู่ว่าอยากจะมีวัดสักแห่งไว้คู่หมู่บ้าน หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ ได้อุปถัมภ์การสร้างวัด ณ ที่บริเวณป่าช้าของหมู่บ้าน ตั้งชื่อว่า วัดสุวรรณหงษ์ ที่พักสงฆ์มีความมั่นคงคู่ชุมชนโดยการได้รับการดูแลอุปถัมภ์จากชาวบ้านมีพระภิกษุบวชอยู่จำพรรษาทุกปีต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานาน ทางชุมชนและลูกศิษย์หลวงปู่ต้องการที่จะให้เป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมายคณะสงฆ์ไทย จึงได้ซื้อที่ดินรอบข้างสุสานแล้วก็มีการสร้างอุโบสถขึ้น

กรรมสิทธิ์ที่ดิน

จำนวน ๕ แปลง ได้แก่ ที่ดินที่ตั้งวัด มีเนื้อที่รวม ๙. ไร่ .....๓.. งาน ........๙๐.. ตารางวา ( √ ) โฉนดที่ดิน เลขที่ ๖๓๘๘๒,๖๗๓๘๕,๗๑๑๘๑,๕๙๑๓๘,๔๑๔๘๔

อาณาเขตวัด

  • ทิศเหนือ จด ที่เอกเอกชน
  • ทิศใต้ จด ที่เอกเอกชน
  • ทิศตะวันออก จด ที่เอกเอกชน
  • ทิศตะวันตก จด....ทางสาธารณะประโยชน์

อาคารเสนาสนะ

ประกอบด้วย
อุโบสถ กว้าง .........๗.๓๐.......... เมตร ยาว .........๑๗...... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๒
( √ ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ( ) อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อื่นๆ..................................
ศาลาการเปรียญ กว้าง .......................... เมตร ยาว .......................... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. .........................
( ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ( ) อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อื่นๆ.................................. หอสวดมนต์ กว้าง .......................... เมตร ยาว .......................... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. .........................
( ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ( ) อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อื่นๆ.................................. กุฏิสงฆ์ จำนวน .....๗.. หลัง
( √ ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน ....๑.... หลัง ( √ ) อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ จำนวน ....๓.... หลัง ( √ ) อาคารไม้ จำนวน ...๓... หลัง ( ) อื่นๆ......................... จำนวน ............ หลัง วิหาร กว้าง .......................... เมตร ยาว .......................... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. .........................
( ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ( ) อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อื่นๆ.................................. ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง .......๑๒.......... เมตร ยาว .......๓๐.......... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
( ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ( √ ) อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อื่นๆ..................................


ศาลาบำเพ็ญกุศล กว้าง .........๙......... เมตร ยาว ........๒๔......... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ....๒๕๔๐
( ) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ( √ ) อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ( ) อาคารไม้ ( ) อื่นๆ..................................

นอกจากนี้มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้
ฌาปนสถาน จำนวน ๑ หลัง หอระฆัง จำนวน ๑ หลัง หอกลอง จำนวน ............ หลัง
โรงครัว จำนวน ๒ หลัง เรือนเก็บพัสดุ จำนวน ๓ หลัง เรือนรับรอง จำนวน ............ หลัง
อื่นๆ ห้องน้ำ ๒ ห้อง จำนวน ๓ แห่ง ห้องน้ำ ๔ ห้อง ๑ จุด ห้องน้ำ ๑๐ ห้อง ๑ แห่ง
ซุ้มประตู ๑ แห่ง

ปูชนียวัตถุ

  • พระประธานประจำอุโบสถ ปางมารวิชัย

ขนาดหน้าตัก กว้าง...๗๙.... นิ้ว สูง...๒.๗๐... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๒

  • พระประธานประจำศาลาอเนกประสงค์ ปางประทานพร

ขนาดหน้าตัก กว้าง.........๕๑......... นิ้ว สูง........๒.......... เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. .....๒๕๕๒.......................
ปูชนียวัตถุอื่นๆ

  • พระพุทธรูปปางยืน เท่าองค์จริง ตั้งบนกำแพงแก้วรอบอุโบสถ จำนวน ๒๕ องค์
  • พระพุทธรูปนาคปรก แกะสลักหินทราย ตั้งบนกำแพงแก้วรอบอุโบสถ หน้าตัก ๓๒ นิ้ว สูง ๗๖ นิ้ว จำนวน ๔ องค์
  • พระอัครสาวกแกะสลักหินทราย ๑ คู่ สูง ๕๙ นิ้ว สร้าง พ.ศ.๒๕๕๕
  • รูปเหมือนหลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ นาคปรก กว้าง ๒๙ นิ้ว สูง ๒ เมตร จำนวน ๑ องค์
  • รูปเหมือนหลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ ยืน องค์ใหญ่ สูง ๕ เมตร จำนวน ๑ องค์

การบริหารและการปกครอง

มีเจ้าอาวาสรูปแรก คือ
พระอธิการสมพร ญาณธีโร เริ่ม พ.ศ.๒๕๖๕ - ปัจจุบัน

ข้อมูลเจ้าอาวาส