ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กำลังศึกษา พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต"

จาก wiki.surinsanghasociety
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 15: แถว 15:
  
 
[[ค่าเทอม ป.เอก รุ่น2 ปี 1 เทอม 1/2565 จำนวน 45,600 บาท]]<br>
 
[[ค่าเทอม ป.เอก รุ่น2 ปี 1 เทอม 1/2565 จำนวน 45,600 บาท]]<br>
 +
[[ค่าเทอม ป.เอก รุ่น2 ปี 1 เทอม 2/2565 จำนวน 36,300 บาท]]<br>
 
งานนี้มีผ่อน [https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=pfbid0T5z8k3LqvpkNWSGuCmh7bCqF4ujnwPfjWsHv5C5wRzBqGLCS7oBMHuiPLDWN4yKml&id=100000241684863] <br>
 
งานนี้มีผ่อน [https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=pfbid0T5z8k3LqvpkNWSGuCmh7bCqF4ujnwPfjWsHv5C5wRzBqGLCS7oBMHuiPLDWN4yKml&id=100000241684863] <br>
 
*3 สิงหาคม 2565  บอกบุญซื้อหนังสือ [https://www.facebook.com/pramahaweera/posts/pfbid02DNwKdaAuAXMTr5TRdGXSnqCxaLztZuXRrxdb6exNnDYFMAB4U77gAGuLAcbMDNEpl]
 
*3 สิงหาคม 2565  บอกบุญซื้อหนังสือ [https://www.facebook.com/pramahaweera/posts/pfbid02DNwKdaAuAXMTr5TRdGXSnqCxaLztZuXRrxdb6exNnDYFMAB4U77gAGuLAcbMDNEpl]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:13, 23 มกราคม 2566

ศาสตร์ของการตีความ เป็นทฤษฎีที่หลอมรวมศาสตร์และศิลป์ บุคคลผู้รักในการตีความมีคุณสมบัติของการเป็นพหูสูต พร้อมคุณสมบัติข้ออื่นในมงคลชีวิต ๓๘ ประการ เช่น มีศิลปะ การคบบัณฑิต เป็นต้น ศาสตร์ของการตีความ จึงเป็นธรรมชาติของชนพหูสูต ของนักวิชาการ การตีความเป็นวิถีนักวิชาการ เป็นวิถีพหูสูต เป็นวิถีนักวิทยาศาสตร์ เป็นวิถีของนักพัฒนา เป็นวิถีของนักปฏิบัติการ เป็นวิถีของนักไกล่เกลี่ยประสานประโยชน์ เป็นวิถีของผู้ทำงานเพื่อส่วนรวม เป็นวิถีผู้จัดบริบทของการเรียนรู้ให้กับสังคม
17 สิงหาคม 2565

เดิมเรานิ่งปล่อยให้เขา(พระ หรือวัด)เดิน เขาเดินไปหน้าไม่ถูก จึงต้องตำหนิเรา เมื่อเรามาเดินก่อน เขาจึงสงบและกำลังเดินตาม

17 ส.ค.2565


บทความ ป.เอก
การเขียนดุษฎีนิพนธ์


ประกาศ มีสิทธิ์เข้าเรียน1.jpg ประกาศ มีสิทธิ์เข้าเรียน2.jpg

ค่าเทอม ป.เอก รุ่น2 ปี 1 เทอม 1/2565 จำนวน 45,600 บาท
ค่าเทอม ป.เอก รุ่น2 ปี 1 เทอม 2/2565 จำนวน 36,300 บาท
งานนี้มีผ่อน [1]

  • 3 สิงหาคม 2565 บอกบุญซื้อหนังสือ [2]
  • 3 สิงหาคม 2565 ขออนุโมทนาบุญเจ้าภาพหนังสือคัมภีร์วิสุทธิมรรค 1 เล่ม

เจ้าภาพบุญโดยพระมหาดิสทัศน์ ติสฺสวโร ป.ธ.๙
บุญถวายหนังสือครั้งนี้ ขออุทิศแด่คุณแม่บุพภา และคุณยายสุ่น จงพูนศรี
[3] และ นางสีนวน ทนงตน [4]

เจือมเนื้อตัวเก็บกายในที่ตั้ง
คิดระวังรายจ่ายนานาหนัก
เกรงใจชนญาติโยมนักยิ่งนัก
วิกฤตชักนำเนื่องเกี่ยวข้องกัน
ประชาชีลำบากพรากอาหาร
ทุกเรือนบ้านขาดแคลนทุกข์หวาดหวั่น
โลกผันแปรผลิตพืชสัตว์ยากทุกวัน
บรรลัยคั้นบีบเค้นต้องเจียมกาย
28 พฤศจิกายน 2565